ขั้นตอนนี้เป็นการดำเนินงานพัฒนาออกแบบเนื้อหา สาระการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้
กลไกสำคัญหนึ่งในการดำเนินงานของโครงการ หลังจากได้เครื่องมือที่เป็นเนื้อหาทางวิชาการเกี่ยวกับความรอบรู้เรื่องสื่อ
การดำเนินการในกระบวนการขั้นตอนนี้ให้ความสำคัญกับการสนับสนุนและส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนมีความรอบรู้เรื่องสื่อแบบครบวงจร
โครงการพัฒนาและเพิ่มความสามารถในการรู้เท่าทันสื่อของเด็กและเยาวชนได้
โครงการรู้เท่าทันสื่อ (YMLDP)
หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ รูปแบบการดำเนินงาน ผลผลิตผลลัพธ์ และผลกระทบที่คาดว่าจะ ได้รับจากการดำเนินงาน รวมทั้งการทบทวนวรรณกรรมก่อนการสร้างสรรค์โครงการพัฒนาและเพิ่มความสามารถในการรู้เท่าทันสื่อของเด็กและเยาวชน โดยศูนย์บริการวิชาการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หน่วยปฏิบัติการวิจัยและพัฒนามนุษย์ ด้านความรอบรู้ทางดิจิทัลและรู้เท่าทันสื่อ (DIRU)คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ทีมงานบุคลากรและเครือข่าย
ด้วยเจตนาและเป้าหมายของการดำเนินงานโครงการพัฒนาและเพิ่มความสามารถในการรู้เท่าทันสื่อ ของเด็กและเยาวชนที่อยากให้สังคมไทยมีทักษะความรอบรู้เรื่องสื่อด้วยการสอนในหลักสูตรในห้องเรียนและการประยุกต์ ใช้ในกิจกรรมนอกห้องเรียน จึงมีความจำเป็นต้องขับเคลื่อนด้วยภาคีความร่วมมือและบุคลากรหลักที่สำคัญของโครงการนี้ ประกอบด้วย
ทีมนักวิชาการ
ทีมสนับสนุน
ทีมเครือข่ายสถาบันแกน
ทีมเครือข่ายสถาบันดำเนินการ
พื้นที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้
พื้นที่ของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการทำงานรณรงค์ การสื่อสาร สาธารณะ และการผลิตสื่อที่เกี่ยวข้องกับความรอบรู้เรื่องสื่อ ทุกคนในขอบเขตพื้นที่นี้มีอิสระเสรีในการถามตอบและทุกคน สามารถร่วมกันตอบและให้ความเห็น
เพราะการแตกต่างทางความคิดคือสิ่งที่เราต้องสะสมและรู้จักคัดกรอง เพื่อที่จะนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติ